PEAK Tax และการจัดการภาษี

จัดการภาษีออนไลน์ เตรียมข้อมูลภาษีถูกต้องแม่นยำ ไม่มีตกหล่น

โปรแกรมบริหารจัดการภาษีออนไลน์ PEAK Tax เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารจัดการภาษีภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยสามารถสร้างเอกสารหรือแบบภาษีต่างๆรองรับ แบบ ภพ. 30 ภ.ง.ด. 1 ภ.ง.ด. 2 ภ.ง.ด. 3 ภ.ง.ด. 53 รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขายและหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย รวมถึงสามารถนำออกไฟล์เพื่อไปยื่นภาษีออนไลน์ของสรรพากรได้อีกด้วย

24,000 บริษัท
วางใจใช้งาน PEAK

30,000

บริษัท

วางใจใช้งาน PEAK

1,400 พันธมิตรสำนักงานบัญชี

1,400

พันธมิตร

PEAK Family Partner

4  ล้านธุรกรรมต่อเดือน บน PEAK

4

ล้านธุรกรรม/เดือน

ธุรกรรมบน PEAK ต่อเดือน

40,000 ล้าน บาท/เดือน

40,000

ล้าน บาท/เดือน

มูลค่ารายการค้าต่อเดือน

จุดเด่นและฟังก์ชันของ PEAK Tax
โปรแกรมการจัดการภาษีออนไลน์ที่ใช้งานง่ายที่สุด

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

สร้าง รายงานภาษีซื้อ ภาษีขาย แบบ ภพ.30 แท็กไฟล์ สําหรับยื่นภาษี

รองรับการยื่นแบบภาษีเพิ่มเติมและจดจำเครดิตภาษี

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

สร้างแบบภ.ง.ด. 1,2,3,53 ,50 ทวิ ไฟล์ยื่นภาษีออนไลน์ได้

สร้างหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายได้ภายใน 1 นาที

บริหารจัดการภาษีได้ง่าย

บริหารจัดการภาษีได้ง่าย

เตรียมเอกสาร จัดการภาษีได้จากทุกที่ ทุกเวลา ด้วยระบบ On-Cloud

มีสถานะในการจัดการไม่ว่าจะเป็น รออนุมัติ ยื่นภาษี และชำระภาษี

บริหารจัดการภาษีได้ง่าย

บันทึกบัญชีอัตโนมัติ

ลงบัญชีให้อัตโนมัติทุกขั้นตอนในยื่นภาษีจ่ายภาษี

ลดเวลาในการทำงาน การจัดการบัญชี และป้องกันข้อมูลตกหล่น

PEAK Tax เหมาะกับใคร?
ระบบบริหารจัดการภาษีที่ตอบโจทย์ธุรกิจมากที่สุด

PEAK Tax โปรแกรมการจัดการภาษีสำหรับธุรกิจ SME

ผู้ประกอบการ SME ที่ต้องการเครื่องมือด้านการบริหารจัดการภาษี

ติดตามสถานะของแบบภาษีต่างๆ ตรวจสอบประวัติการชำระภาษีหรือการออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย รวมถึงใบกำกับภาษีอีกด้วย

PEAK Tax โปรแกรมการจัดการภาษีสำหรับฝ่ายบุคคลและนักบัญชี

ตัวช่วยในการจัดการด้านภาษี สำหรับผู้จัดทำภาษีและนักบัญชี

รวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมยื่นภาษี ตรวจสอบและติดตามได้ง่าย สร้างเอกสารออนไลน์ที่ไหนก็ได้

ทำบัญชีและภาษีได้ไวกว่าเดิมเมื่อเชื่อมต่อระบบ PEAK Tax เข้ากับ PEAK Account

ทำบัญชีและภาษีได้ไวกว่าเดิมเมื่อเชื่อมต่อระบบ PEAK Tax เข้ากับ PEAK Account

รวมรวมข้อมูล จัดเตรียมแบบภาษี และบันทึกบัญชีที่เกี่ยวข้องกับภาษีทุกอย่างโดยอัตโนมัติ ช่วยลดเวลาการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ราคาเริ่มต้น 1,200 บาท/เดือน โปรแกรมการจัดการภาษีออนไลน์ PEAK Tax

บริหารธุรกิจ บัญชี การเงิน
และจัดการเงินเดือนได้ครบวงจร

เริ่มต้นเพียง 1,200 บาท/เดือน

รู้จัก PEAK Tax โปรแกรมการจัดการภาษี ใน 2 นาที

จัดการภาษีได้ง่ายๆ ด้วยโปรแกรมบริหารจัดการภาษี - PEAK Tax

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโปรแกรมการจัดการภาษี PEAK Tax

หากต้องการใช้โปรแกรมภาษี (PEAK TAX ) ที่ออกแบบมาเพื่อทำภาษีโดยเฉพาะ จะรองรับการสร้างแบบ ภ.ง.ด 4 ประเภท ดังนี้ ซึ่งก่อนที่จะสามารถสร้างแบบภาษีท่านสามารถดูวิธีการดึงข้อมูลหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่ายจากโปรแกรมบัญชี PEAK เข้ามาที่ โปรแกรมภาษี (PEAK TAX)ได้ที่นี่

  1. สร้างแบบ ภ.ง.ด 1
  2. สร้างแบบ ภ.ง.ด 2
  3. สร้างแบบ ภ.ง.ด 3
  4. สร้างแบบ ภ.ง.ด 53

ภ.ง.ด คืออะไรแต่ละประเภทต่างกันอย่างไรคลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่

ตามมาตรา 82/3 แห่งประมวลรัษฎากรสามารถนำภาษีซื้อมาใช้ได้ภายใน 6 เดือนโดยเริ่มนับจากวันที่ออกใบกำกับภาษีซื้อ

ซึ่งในโปรแกรมภาษี PEAK TAX ในตอนที่สร้างแบบภาษีสามารถเลือกใบกำกับภาษีซื้อของเดือนก่อนหน้ามาใช้โดยวิธีการนำภาษีซื้อมาใช้สามารถอ่านที่คู่มือนี้ได้

โปรแกรมภาษี(PEAK TAX)ที่ออกแบบมาเพื่อทำภาษีโดยเฉพาะซึ่งสามารถสร้างแบบ ภ.พ. 30 ได้ทั้งแบบยื่นปกติและยื่นเพิ่มเติม เมื่อได้มีการดึงข้อมูลใบกำกับภาษีซื้อและภาษีขายจากโปรแกรมบัญชี PEAK เข้ามาที่โปรแกรมภาษี PEAK TAX แล้ว ตามคู่มือนี้

สามารถนำเอกสารไปยื่นแบบ ภ.พ. 30 ตามคู่มือนี้ได้เลย เมื่อสร้างแบบ ภ.พ. 30 เรียบร้อยแล้วสามารถกดบันทึกปิดภาษีและบันทึกการชำระเงินได้เลยทันทีระบบจะทำงานบันทึกบัญชีให้อัตโนมัติผ่านโปรแกรมภาษี (PEAK TAX)

หากมีการออกเอกสารใบกำกับภาษีซื้อหรือใบกำกับภาขายไว้ที่โปรแกรมออนไลน์ PEAK และต้องการนำข้อมูลมาใช้ในโปรแกรมภาษี (PEAK TAX) สามารถดึงข้อมูลตามช่วงวันที่ออกเอกสารได้ทันทีเพียงกดปุ่มดึงข้อมูล เอกสารที่สร้างไว้ก็จะวิ่งเข้าไปที่โปรแกรมภาษี (PEAK TAX) เพื่อให้สามารถนำข้อมูลไปสร้างแบบภาษีและบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีได้ วิธีการดึงข้อมูลสามารถอ่านเพิ่มที่ Link นี้

ผลิตภัณฑ์ของ PEAK

PEAK Account
โปรแกรมบัญชีออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Payroll
โปรแกรมเงินเดือนออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Board
โปรแกรมวิเคราะห์ธุรกิจ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Asset
โปรแกรมบริหารจัดการสินทรัพย์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

PEAK Tax
โปรแกรมการจัดการภาษีออนไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

Line @PEAKConnect
ใช้งานโปรแกรมผ่านไลน์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

บทความน่ารู้

เงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คืออะไร

PEAK Account

12

min

เงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คืออะไร? สำคัญกับธุรกิจยังไง

ในโลกของธุรกิจการบริหารเงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คือหัวใจสำคัญที่ช่วยดำเนินธุรกิจให้สามารถเดินหน้าต่อไปได้อย่างดีมากขึ้น สรุปให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือ เงินทุนหมุนเวียนนั้นเปรียบเสมือนน้ำช่วยหล่อเลี้ยงธุรกิจ เพราะมันคือเงินสดให้ธุรกิจไว้ใช้เป็นค่าใช้จ่ายประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายค่าวัตถุดิบ ค่าจ้างพนักงาน หรือจ่ายหนี้ต่าง ๆ ดังนั้น การบริหารเงินทุนหมุนเวียนก้อนนี้ให้เกิดประสิทธิภาพ ก็เหมือนกับการดูแลสุขภาพของธุรกิจให้แข็งแรง ทำให้ธุรกิจอยู่รอดและเติบโตได้อย่างมั่นคง เงินทุนหมุนเวียนหรือ Working Capital คืออะไร? เงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คือ ตัวหล่อเลี้ยงที่ช่วยกิจการดำเนินธุรกิจไปอย่างไม่มีปัญหา เพราะเป็นเงินทุนที่ธุรกิจต้องใช้ในการดำเนินธุรกิจในแต่ละวัน เพื่อให้กิจการสามารถเดินไปข้างหน้าได้อย่างไม่ติดขัด ซึ่งเงินทุนหมุนเวียนนั้นจะใช้การคำนวณจาก สินทรัพย์หมุนเวียน หักลบด้วย หนี้สินหมุนเวียน เพื่อทำให้เห็นถึงสถานะทางการเงินของบริษัทว่ามีสภาพคล่องเป็นอย่างไร อ่านเพิ่มเติม : วิธีบริหาร Cash Flow เสริมสภาพคล่องทางธุรกิจ ความสำคัญของ Working Capital ต่อธุรกิจ เงินทุนหมุนเวียนเป็นดั่งตัวที่ช่วยหล่อเลี้ยงธุรกิจ เพราะเป็นเงินทุนที่ให้ธุรกิจใช้จ่ายในประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการซื้อวัตถุดิบ จ่ายค่าใช้จ่าย หรือชำระหนี้ระยะสั้นต่าง ๆ เมื่อธุรกิจมีเงินทุนหมุนเวียนเพียงพอ ก็จะสามารถชำระหนี้ได้ตรงเวลา ทำให้ธุรกิจมีเครดิตที่ดี มีความน่าเชื่อถือ และทำให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างมั่นคงและมีประสิทธิภาพ ดูเงินทุนหมุนเวียนในงบการเงินยังไงบ้าง การดูเงินทุนหมุนเวียนในงบการเงิน หรือ Net Working Capital คือ การดูจำนวนสินทรัพย์หมุนเวียนทั้งหมดในธุรกิจ ซึ่งได้มาจากผลต่างจากการหักลบระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียน โดยมีความแตกต่างกัน ดังนี้  สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) คือ สินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ภายในระยะเวลาอันสั้น (โดยทั่วไปคือภายใน 1 ปี) สินทรัพย์เหล่านี้จึงเปรียบเสมือนเลือดที่หล่อเลี้ยงให้กับธุรกิจดำเนินงานไปได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสินทรัพย์หมุนเวียนจะประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) คือ หนี้สินของธุรกิจที่ต้องชำระคืนภายในระยะเวลาอันสั้น โดยทั่วไปคือภายใน 1 ปี หรือภายในรอบบัญชีของธุรกิจนั้น ๆ โดยหนี้สินเหล่านี้จะใช้ในการดำเนินธุรกิจประจำวัน และเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสภาพคล่องธุรกิจ ซึ่งในส่วนของหนี้สินหมุนเวียนจะมีดังนี้ ธุรกิจควรมีเงินทุนหมุนเวียนเท่าไหร่ สำหรับคำถามที่ว่าธุรกิจควรมีเงินทุนหมุนเวียนเท่าไหร่นั้น ไม่ได้มีคำตอบที่ตายตัว สาเหตุเป็นเพราะปริมาณเงินทุนหมุนเวียนที่เหมาะสมจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละธุรกิจ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ทำยังไงถึงจะเพิ่มเงินทุนหมุนเวียนได้ การเพิ่มเงินทุนหมุนเวียน ถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับธุรกิจทุกขนาด เพื่อให้การทำธุรกิจราบรื่นและมีสภาพคล่องเพียงพอ ซึ่งก็มีหลายวิธีที่สามารถปรับใช้เพิ่มเงินทุนหมุนเวียนได้ ดังนี้ 1. บริหารจัดการสินทรัพย์ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. หาแหล่งเงินทุนเพิ่มเติม 3. ปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ 4. เพิ่มยอดขายและรายได้ เงินทุนหมุนเวียนเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมธุรกิจ ซึ่งถ้าสามารถจัดการเงินทุนหมุนเวียนอย่างเป็นระบบ ไม่ว่าจะเป็นการหาแหล่งทุนหมุนเวียน หรือการเพิ่มทุนก็ตาม ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยทำให้ธุรกิจมีโอกาสเติบโตยั่งยืนและมั่นคงในระยะยาว รวมถึงยังสามารถรับมือกับความท้าทายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ดีอีกด้วย เพื่อสนับสนุนการจัดการเงินทุนหมุนเวียนอย่างมีประสิทธิภาพ PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์ จึงเป็นตัวช่วยที่ตอบโจทย์ ด้วยฟีเจอร์การจัดการบัญชีและการเงินครบวงจร ที่ช่วยให้เจ้าของธุรกิจสามารถวางแผนและบริหารทรัพยากรได้อย่างเป็นระบบ ช่วยลดความซับซ้อนของงานบัญชี และเสริมสร้างความมั่นใจในทุกการตัดสินใจทางการเงิน ทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน  คลิก ount.com (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @systemseedwebs-comสอบถามเพิ่มเติม คลิก

ความรู้บัญชี

รู้จักการลงทุนที่สร้างผลตอบแทนให้ธุรกิจ Crowdfunding คืออะไร

PEAK Account

11

min

รู้จักการลงทุนที่สร้างผลตอบแทนให้ธุรกิจ Crowdfunding คืออะไร

ในยุคดิจิทัลที่ทุกอย่างเชื่อมโยงกัน จึงทำให้การลงทุนไม่ใช่เรื่องของคนมีเงินอีกต่อไป Crowdfunding หรือการระดมทุนจากประชาชนทั่วไป จึงเป็นเหมือนกับการทำให้ทุกคนมีเปิดโอกาสเป็นหนึ่งในการผลักดันธุรกิจให้ประสบความสำเร็จได้มากขึ้น ซึ่งเป็นอีกหนึ่งวิธีที่กำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายทั่วโลกในตอนนี้ คุณจะได้รู้จักกับ Crowdfunding โดยจะเริ่มตั้งแต่ Crowdfunding คืออะไร มีกี่ประเภท ข้อดีข้อเสียมีอะไรบ้าง พร้อมทั้งแนะนำการเตรียมตัวสำหรับการลงทุนในรูปแบบนี้ให้ประสบความสำเร็จ ผ่านเนื้อหาในบทความตามด้านล่างนี้เลย Crowdfunding คืออะไร? Crowdfunding คือ การระดมทุนสาธารณะจากผู้คนเป็นจำนวนมาก โดยจะดำเนินการผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อนำเงินที่ได้ไปสนับสนุนโครงการหรือธุรกิจต่าง ๆ เช่น การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ การผลิตสินค้าใหม่ การเริ่มต้นธุรกิจ หรือแม้แต่การช่วยเหลือสังคม เป็นต้น ซึ่งอาจจะใช้ Crowdfunding Platform คือ แพลตฟอร์มคราวด์ฟันดิงที่เป็นตัวกลางระหว่างธุรกิจและนักลงทุน Crowdfunding มีกี่ประเภท การระดมทุนแบบ Crowdfunding นั้นมีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทจะมีลักษณะและวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน แต่โดยหลัก ๆ แล้วสามารถแบ่งเป็นรูปแบบหลักได้ดังนี้ Donation Based Crowdfunding  การระดมทุนแบบบริจาค เป็นรูปแบบหนึ่งของ Crowdfunding ที่ผู้สนับสนุนบริจาคเงินโดยไม่มีการคาดหวังผลตอบแทนที่เป็นรูปธรรม เช่น สินค้าหรือบริการ เป็นการสนับสนุนโครงการด้วยความตั้งใจช่วยเหลือหรือสนับสนุนไอเดียหรือวัตถุประสงค์ของโครงการนั้น ซึ่งจะมีจุดเด่นดังนี้ Reward Based Crowdfunding  การระดมทุนแบบแลกกับสินค้าหรือของที่ระลึกเป็นสิ่งตอบแทน เป็นรูปแบบหนึ่งของ Crowdfunding ที่ผู้สนับสนุนจะได้รับสินค้าหรือของที่ระลึกตามจำนวนเงินที่บริจาค เป็นการสนับสนุนโครงการและได้รับผลตอบแทนที่เป็นรูปธรรม มีจุดเด่นหลายด้านดังนี้ Peer to Peer Lending  การระดมทุนแบบกู้ยืมระหว่างบุคคล หรือ Peer-to-Peer Lending เป็นรูปแบบหนึ่งของ Crowdfunding ที่ผู้สนับสนุนให้กู้เงินแก่ผู้ริเริ่มโครงการ และจะได้รับดอกเบี้ยตอบแทน เป็นการระดมทุนโดยตรงจากบุคคลทั่วไปแทนการผ่านสถาบันการเงิน โดยมีจุดเด่นดังนี้ Investment Crowdfunding การระดมทุนในรูปแบบหลักทรัพย์ เป็นรูปแบบหนึ่งของ Crowdfunding ที่ผู้สนับสนุนจะได้รับส่วนแบ่งเป็นเจ้าของในธุรกิจหรือหุ้นกู้ เป็นการลงทุนในโครงการที่เล็งเห็นได้ว่ามีโอกาสการเติบโตจนทำกำไรได้ดีในระยะยาว ลักษณะเด่นของการระดมทุนในรูปแบบหลักทรัพย์มีดังนี้ ใครได้ประโยชน์จาก Crowdfunding การระดมทุนแบบ Crowdfunding นั้นให้ประโยชน์กับหลายฝ่าย ทั้งผู้ระดมทุน ผู้สนับสนุน และสังคมโดยรวม ผู้ที่ได้ประโยชน์จาก Crowdfunding ได้แก่ ข้อดีของการใช้ Crowdfunding การระดมทุนแบบ Crowdfunding นั้นมีข้อดีหลายประการ ทั้งสำหรับผู้ระดมทุน ผู้สนับสนุน และสังคมโดยรวม ซึ่งในแต่ละฝ่ายนั้นจะมีข้อดีด้านต่าง ๆ ดังนี้ การระดมทุนแบบ Crowdfunding ถือเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่มีประโยชน์กับหลาย ๆ ฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้ระดมทุน ผู้สนับสนุน หรือสังคมโดยรวมก็ตาม ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ ล้วนทำให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ อีกทั้งยังสร้างโอกาสทางธุรกิจ และส่งเสริมให้เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย  ทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน  คลิก ount.com (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @systemseedwebs-comสอบถามเพิ่มเติม คลิก

ความรู้ธุรกิจ

เจาะลึกแฟรนไชส์น่าลงทุน 2567 มีอะไรบ้าง

PEAK Account

9

min

เจาะลึกแฟรนไชส์น่าลงทุน 2567 มีอะไรบ้าง ที่มีโอกาสสร้างกำไรได้จริง

ปี 2567 เป็นปีทองของการลงทุนแฟรนไชส์ที่มาพร้อมโอกาสทางธุรกิจมากมาย การเลือกแฟรนไชส์น่าลงทุนที่เหมาะสมจึงเป็นโอกาสสู่ความสำเร็จได้ไม่ยาก เราจึงได้รวบรวมแฟรนไชส์น่าลงทุนที่มาแรงในปี 2567 มาให้แล้ว มีทั้งแฟรนไชส์ด้านอาหาร บริการ และค้าปลีก ที่ใช้เงินลงทุนไม่มากแต่มีโอกาสเติบโตสูง เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นธุรกิจแฟรนไชส์และต้องการทีมงานที่จะคอยมอบคำปรึกษาให้ตลอดการดำเนินธุรกิจ ธุรกิจแฟรนไชส์น่าลงทุน คืออะไร ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่เจ้าของแบรนด์ (แฟรนไชส์ซอร์) อนุญาตให้ผู้สนใจลงทุน (แฟรนไชส์ซี) ใช้ชื่อแบรนด์ เครื่องหมายการค้า และระบบการดำเนินธุรกิจที่ประสบความสำเร็จแล้ว โดยเจ้าของธุรกิจแฟรนไชส์จะสนับสนุนผู้ลงทุนในด้านต่าง ๆ เช่น การอบรม ระบบการจัดการ สูตรผลิตภัณฑ์ และการตลาด แลกกับค่าธรรมเนียมแรกเข้าและค่ารอยัลตี้ตามที่ตกลง ธุรกิจแฟรนไชส์น่าลงทุน คือ ธุรกิจที่ความเสี่ยงในการเริ่มต้นธุรกิจค่อนข้างน้อย ประหยัดเวลาในการสร้างแบรนด์ และมีโอกาสประสบความสำเร็จสูงกว่าการเริ่มต้นธุรกิจเอง เพราะใช้โมเดลธุรกิจที่พิสูจน์แล้วว่าประสบความสำเร็จ 7 แฟรนไชส์น่าลงทุน 2567 สำหรับคนอยากเปิดร้าน ในยุคที่ผู้บริโภคมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การเลือกแฟรนไชส์น่าลงทุนที่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดจึงเป็นสิ่งสำคัญ เรารวบรวม 7 แฟรนไชส์ที่น่าสนใจในปี 2567 ที่มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง ใช้เงินลงทุนไม่สูง และมีโอกาสคืนทุนเร็วมาฝากกัน 1. แฟรนไชส์ร้านสะดวกซัก-เครื่องซักผ้าหยอดเหรียญ ร้านสะดวกซักเป็นธุรกิจที่กำลังเติบโตในปี 2567  ด้วยไลฟ์สไตล์คนเมืองที่ต้องการความสะดวกสบายและประหยัดเวลา โดยเฉพาะในย่านคอนโดมิเนียม หอพัก และชุมชนที่พักอาศัย การลงทุนเริ่มต้นประมาณ 300,000-1,000,000 บาท ขึ้นอยู่กับขนาดร้านและจำนวนเครื่องซักผ้า ข้อดีคือเป็นธุรกิจที่ดูแลง่าย ไม่ต้องจ้างพนักงานประจำ มีรายได้สม่ำเสมอ และคืนทุนเร็วประมาณ 1-2 ปี แฟรนไชส์จะช่วยในเรื่องการเลือกทำเลที่ตั้ง การติดตั้งระบบ และเครื่องซักผ้าที่ต้องการการบำรุงรักษา 2. แฟรนไชส์สุกี้ สุกี้เป็นอาหารที่คนไทยนิยมรับประทานตลอดทั้งปี แฟรนไชส์สุกี้จึงเป็นธุรกิจที่น่าสนใจในปี 2567 ด้วยเงินลงทุนเริ่มต้นประมาณ 500,000-2,000,000 บาท ขึ้นอยู่กับขนาดร้านและแบรนด์ ข้อดีคือมีสูตรและวัตถุดิบมาตรฐาน ระบบการจัดการร้านที่เป็นระบบ และแบรนด์เป็นที่รู้จัก ทำให้สร้างยอดขายได้ง่าย นอกจากนี้ยังสามารถขยายช่องทางการขายผ่านเดลิเวอรี่ได้ ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2-3 ปี 3. แฟรนไชส์ขนมปังนมสด ขนมปังนมสดกำลังได้รับความนิยมอย่างมากในปี 2567 เพราะเป็นอาหารว่างที่รับประทานได้ทุกเวลา ใช้เงินลงทุนเริ่มต้นประมาณ 200,000-500,000 บาท ข้อดีคือมีสูตรเฉพาะ อุปกรณ์ และวัตถุดิบที่มีมาตรฐาน สามารถเปิดได้ทั้งรูปแบบร้านค้าและคีออส มีโอกาสขยายสาขาได้ง่าย และมีกำไรต่อชิ้นสูง ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 1-2 ปี แฟรนไชส์จะสนับสนุนด้านการอบรมพนักงาน การควบคุมคุณภาพ และการทำการตลาด 4. แฟรนไชส์ไอศกรีมซอฟต์เสิร์ฟ ไอศกรีมซอฟต์เสิร์ฟเป็นธุรกิจที่น่าลงทุนในปี 2567 เพราะได้รับความนิยมตลอดทั้งปี เงินลงทุนเริ่มต้นประมาณ 300,000-800,000 บาท รวมเครื่องทำไอศกรีมและอุปกรณ์ ข้อดีคือมีกำไรต่อแก้วสูง ต้นทุนการผลิตต่ำ สามารถเปิดได้ทั้งรูปแบบร้านและคีออส และมีโอกาสสร้างรายได้เสริมจากท็อปปิ้งและเมนูพิเศษ ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 1-2 ปี แฟรนไชส์จะช่วยในเรื่องสูตร การอบรม และการพัฒนาเมนูใหม่ ๆ 5. แฟรนไชส์ชาไข่มุก ชาไข่มุกยังคงเป็นเครื่องดื่มยอดนิยมในปี 2567 การลงทุนแฟรนไชส์ชาไข่มุกใช้เงินเริ่มต้นประมาณ 300,000-1,000,000 บาท ข้อดีคือมีสูตรเฉพาะที่ได้รับความนิยม วัตถุดิบคุณภาพดี ระบบการจัดการร้านที่เป็นมาตรฐาน และมีโอกาสขยายช่องทางขายผ่านแอพเดลิเวอรี่ ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 1-2 ปี แฟรนไชส์จะสนับสนุนด้านการควบคุมคุณภาพ ฝึกอบรมำนักงาน  และการทำการตลาดอย่างต่อเนื่อง 6. แฟรนไชส์ร้านทุกอย่างราคาเดียว ร้านทุกอย่างราคาเดียวกำลังเป็นที่นิยมในปี 2567 เพราะตอบโจทย์ผู้บริโภคที่ต้องการความคุ้มค่า เงินลงทุนเริ่มต้นประมาณ 500,000-2,000,000 บาท ขึ้นอยู่กับขนาดร้านและทำเล ข้อดีคือมีสินค้าหลากหลาย การบริหารจัดการง่าย มีระบบสต๊อกที่เป็นมาตรฐาน และมีฐานลูกค้าที่ชัดเจน ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2-3 ปี แฟรนไชส์จะช่วยในเรื่องการคัดเลือกสินค้า การจัดการสต๊อกและการทำโปรโมชั่น 7. แฟรนไชส์คาร์แคร์ ธุรกิจคาร์แคร์เป็นอีกหนึ่งแฟรนไชส์น่าลงทุนในปี 2567 เพราะตลาดรถยนต์ในไทยยังเติบโตต่อเนื่อง เงินลงทุนเริ่มต้นประมาณ 500,000-2,000,000 บาท ข้อดีคือมีระบบการให้บริการที่เป็นมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์คุณภาพดี มีฐานลูกค้าประจำ และสามารถขยายบริการเสริมได้หลากหลาย ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2-3 ปี แฟรนไชส์จะสนับสนุนด้านการฝึกอบรมพนักงาน การควบคุมคุณภาพ และการทำการตลาด สรุปบทความ การเลือกแฟรนไชส์น่าลงทุนในปี 2567 ต้องพิจารณาทั้งเงินลงทุน ความเชี่ยวชาญ และความต้องการของตลาด โดยแต่ละธุรกิจมีจุดเด่นและโอกาสเติบโตที่แตกต่างกัน ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลอย่างละเอียดและเลือกแฟรนไชส์ที่เหมาะกับตนเอง และที่สำคัญการทำบัญชีธุรกิจอย่างถูกต้องแม่นยำก็ช่วยทำให้เราเห็นผลกำไรชัดเจน สำหรับธุรกิจแฟรนไชส์ไหนไม่อยากยุ่งยากกับการทำบัญชีร้านหรือเอกสารในการยื่นภาษีเอง PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์ เราพร้อมช่วยผู้ประกอบการจัดการเรื่องภาษีและบัญชีได้อย่างถูกต้องรองรับการเติบโต ช่วยให้ธุรกิจก้าวไปสู่ความสำเร็จ ทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน คลิก (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @systemseedwebs-comสอบถามเพิ่มเติม คลิก

ความรู้ธุรกิจ

เงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คืออะไร

PEAK Account

12

min

เงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คืออะไร? สำคัญกับธุรกิจยังไง

ในโลกของธุรกิจการบริหารเงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คือหัวใจสำคัญที่ช่วยดำเนินธุรกิจให้สามารถเดินหน้าต่อไปได้อย่างดีมากขึ้น สรุปให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือ เงินทุนหมุนเวียนนั้นเปรียบเสมือนน้ำช่วยหล่อเลี้ยงธุรกิจ เพราะมันคือเงินสดให้ธุรกิจไว้ใช้เป็นค่าใช้จ่ายประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายค่าวัตถุดิบ ค่าจ้างพนักงาน หรือจ่ายหนี้ต่าง ๆ ดังนั้น การบริหารเงินทุนหมุนเวียนก้อนนี้ให้เกิดประสิทธิภาพ ก็เหมือนกับการดูแลสุขภาพของธุรกิจให้แข็งแรง ทำให้ธุรกิจอยู่รอดและเติบโตได้อย่างมั่นคง เงินทุนหมุนเวียนหรือ Working Capital คืออะไร? เงินทุนหมุนเวียน หรือ Working Capital คือ ตัวหล่อเลี้ยงที่ช่วยกิจการดำเนินธุรกิจไปอย่างไม่มีปัญหา เพราะเป็นเงินทุนที่ธุรกิจต้องใช้ในการดำเนินธุรกิจในแต่ละวัน เพื่อให้กิจการสามารถเดินไปข้างหน้าได้อย่างไม่ติดขัด ซึ่งเงินทุนหมุนเวียนนั้นจะใช้การคำนวณจาก สินทรัพย์หมุนเวียน หักลบด้วย หนี้สินหมุนเวียน เพื่อทำให้เห็นถึงสถานะทางการเงินของบริษัทว่ามีสภาพคล่องเป็นอย่างไร อ่านเพิ่มเติม : วิธีบริหาร Cash Flow เสริมสภาพคล่องทางธุรกิจ ความสำคัญของ Working Capital ต่อธุรกิจ เงินทุนหมุนเวียนเป็นดั่งตัวที่ช่วยหล่อเลี้ยงธุรกิจ เพราะเป็นเงินทุนที่ให้ธุรกิจใช้จ่ายในประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการซื้อวัตถุดิบ จ่ายค่าใช้จ่าย หรือชำระหนี้ระยะสั้นต่าง ๆ เมื่อธุรกิจมีเงินทุนหมุนเวียนเพียงพอ ก็จะสามารถชำระหนี้ได้ตรงเวลา ทำให้ธุรกิจมีเครดิตที่ดี มีความน่าเชื่อถือ และทำให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างมั่นคงและมีประสิทธิภาพ ดูเงินทุนหมุนเวียนในงบการเงินยังไงบ้าง การดูเงินทุนหมุนเวียนในงบการเงิน หรือ Net Working Capital คือ การดูจำนวนสินทรัพย์หมุนเวียนทั้งหมดในธุรกิจ ซึ่งได้มาจากผลต่างจากการหักลบระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียน โดยมีความแตกต่างกัน ดังนี้  สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) คือ สินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ภายในระยะเวลาอันสั้น (โดยทั่วไปคือภายใน 1 ปี) สินทรัพย์เหล่านี้จึงเปรียบเสมือนเลือดที่หล่อเลี้ยงให้กับธุรกิจดำเนินงานไปได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสินทรัพย์หมุนเวียนจะประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) คือ หนี้สินของธุรกิจที่ต้องชำระคืนภายในระยะเวลาอันสั้น โดยทั่วไปคือภายใน 1 ปี หรือภายในรอบบัญชีของธุรกิจนั้น ๆ โดยหนี้สินเหล่านี้จะใช้ในการดำเนินธุรกิจประจำวัน และเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสภาพคล่องธุรกิจ ซึ่งในส่วนของหนี้สินหมุนเวียนจะมีดังนี้ ธุรกิจควรมีเงินทุนหมุนเวียนเท่าไหร่ สำหรับคำถามที่ว่าธุรกิจควรมีเงินทุนหมุนเวียนเท่าไหร่นั้น ไม่ได้มีคำตอบที่ตายตัว สาเหตุเป็นเพราะปริมาณเงินทุนหมุนเวียนที่เหมาะสมจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละธุรกิจ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ทำยังไงถึงจะเพิ่มเงินทุนหมุนเวียนได้ การเพิ่มเงินทุนหมุนเวียน ถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับธุรกิจทุกขนาด เพื่อให้การทำธุรกิจราบรื่นและมีสภาพคล่องเพียงพอ ซึ่งก็มีหลายวิธีที่สามารถปรับใช้เพิ่มเงินทุนหมุนเวียนได้ ดังนี้ 1. บริหารจัดการสินทรัพย์ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. หาแหล่งเงินทุนเพิ่มเติม 3. ปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ 4. เพิ่มยอดขายและรายได้ เงินทุนหมุนเวียนเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมธุรกิจ ซึ่งถ้าสามารถจัดการเงินทุนหมุนเวียนอย่างเป็นระบบ ไม่ว่าจะเป็นการหาแหล่งทุนหมุนเวียน หรือการเพิ่มทุนก็ตาม ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยทำให้ธุรกิจมีโอกาสเติบโตยั่งยืนและมั่นคงในระยะยาว รวมถึงยังสามารถรับมือกับความท้าทายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ดีอีกด้วย เพื่อสนับสนุนการจัดการเงินทุนหมุนเวียนอย่างมีประสิทธิภาพ PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์ จึงเป็นตัวช่วยที่ตอบโจทย์ ด้วยฟีเจอร์การจัดการบัญชีและการเงินครบวงจร ที่ช่วยให้เจ้าของธุรกิจสามารถวางแผนและบริหารทรัพยากรได้อย่างเป็นระบบ ช่วยลดความซับซ้อนของงานบัญชี และเสริมสร้างความมั่นใจในทุกการตัดสินใจทางการเงิน ทดลองใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี! 30 วัน  คลิก ount.com (ไม่มีค่าใช้จ่าย)PEAK Call Center : 1485LINE : @systemseedwebs-comสอบถามเพิ่มเติม คลิก

ความรู้บัญชี